วันพฤหัสบดีที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

แปลโดยพยัญชนะเรื่อง จูเฬกสาฎก ตอนที ๘



ตอนที่ ๘

๑. ทนฺธญฺหิ กโรโตติ โย ปนทสฺสามิ ทสฺสามิ สมฺปชฺชิสฺสติ นุ โข เม โนติ เอวํ จิกฺขลฺลมคฺเคน คจฺฉนฺโต วิย ทนฺธํ ปุญฺญํ กโรติ ตสฺส เอกสาฏกสฺส วิย มจฺเฉรสหสฺสํ ปาปํ โอกาสํ ลภติ.
๒. อถสฺส ปาปสฺมึ รมตี มโน กุสลกมฺมกรณกาเลเยว หิ จิตฺตํ กุสเล รมติ ตโต มุจฺจิตฺวา ปาปนินฺนเมว โหตีติ.
๓. คาถาปริโยสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสูติ.
๔. จูเฬกสาฏกพฺราหฺมณวตฺถุ
            ๕. (นิฏฺฐิตํ)


๑. (อ. อรรถ) ว่า ก็ อ. บุคคล ใด (คิดอยู่) อย่างนี้ ว่า อ. เรา จักถวาย, อ. เรา จักระทำ, (อ. ผล) จักสำเร็จ แก่เราหรือหนอแล (หรือว่า) (อ. ผล จักสำเร็จ แก่เรา) หามิได้ ดังนี้ ชื่อว่าย่อมกระทำ ซึ่งบุญ ช้า ราวกะ (อ. บุคคล) ผู้ไปอยู่ โดยหนทางอันลื่น, อ. บาป ของบุคคลนั้น ย่อมได้ ซึ่งโอกาส ราวกะ อ. พันแห่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยความตระหนี่ ของพราหมณ์ชื่อว่าเอกสาฎก (ได้อยู่ ซึ่งโอกาส) ฯ
            ๒. ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น (มีอยู่) อ. ใจ ของบุคคลนั้น ย่อมยินดี ในบาป ฯ เพราะว่า อ. จิต ย่อมยินดี ในกรรมอันเป็นกุศล ในกาลเป็นที่กระทำซึ่งกรรมอันเป็นกุศลนั่นเทียว (อ. จิต) พ้นแล้ว จากกาลเป็นที่กระทำซึ่งกรรมอันเป็นกุศลนั้น เป็นธรรมชาตน้อมไปแล้วในบาปนั่นเทียว ย่อมเป็น ดังนี้ (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า ทนฺธํ หิ กรโต ดังนี้ ฯ
            ๓. ในการเป็นที่สุดลงรอบแห่งพระคาถา (อ. ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว (ซึ่งอริยผล ท.) มีโสดาปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แล ฯ

 ๔. อ. เรื่องแห่งพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก
   ๕. (จบแล้ว) ฯ




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น