วันจันทร์ที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๘

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๗

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๖

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๕

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๔

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๓

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๒

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก ตอนที่ ๑

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก pdf

แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก




 ตอนที่ ๑
๑. จูเฬกสาฏกพฺราหฺมณวตฺถุ
๒. อภิตฺถเรถ กลฺยาเณติ อิมํ         ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต จูเฬกสาฏกพฺราหฺมณํ อารพฺภ กเถสิ.
๓. วิปสฺสิทสพลสฺส กาลสฺมิญฺหิ มหาเอกสาฏกพฺราหฺมโณ นาม อโหสิ.
 ๔. อยํ ปน เอตรหิ สาวตฺถิยํ จูเฬกสาฏโก นาม.
๕. ตสฺส หิ เอโก นิวาสนสาฏโก อโหสิ พฺราหฺมณิยาปิ  เอโก.
๖. อุภินฺนมฺปิ เอกเมว ปารุปนํ พหิ คมนกาเล พฺราหฺมโณ วา พฺราหฺมณี วา ตํ ปารุปติ.
๗. อเถกทิวสํ วิหาเร ธมฺมสฺสวเน โฆสิเต พฺราหฺมโณ อาหโภติ ธมฺมสฺสวนํ โฆสิตํ กึ ทิวา ธมฺมสฺสวนํ คมิสฺสสิ อุทาหุ รตฺตึ.     
๘. ปารุปนสฺส หิ อภาเวน สกฺกา อมฺเหหิ   เอกโต คนฺตุนฺติ.
๙. พฺราหฺมณีสามิ อหํ ทิวา คมิสฺสามีติ สาฏกํ ปารุปิตฺวา อคมาสิ.
๑๐. พฺราหฺมโณ ทิวสภาคํ เคเห วีตินาเมตฺวา รตฺตึ คนฺตฺวา สตฺถุ ปุรโต นิสินฺโนว ธมฺมํ อสฺโสสิ.

๑. อ.เรื่องแห่งพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
๒. อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตะวัน ทรงปรารภ ซึ่งพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า อภิตฺถเร กลฺยาเณ ดังนี้เป็นต้น ฯ
            ๓. ดังจะกล่าวโดยพิสดาร ชื่อ อ. พราหมณ์ชื่อว่ามหาเอกสาฎก ได้มีแล้ว ในกาล แห่งพระทศพลพระนามว่าวิปัสสี ฯ
            ๔. แต่ว่า อ. พราหมณ์ชื่อว่ามหาเอกสาฎกนี้ เป็นผู้ชื่อว่าจูเฬกสาฎก (ได้เป็นแล้ว) ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ในกาลนี้ ฯ 
            ๕. ก็ อ. ผ้าสาฎกเป็นเครื่องนุ่ง ผืนหนึ่ง ของพราหมณ์นั้น ได้มีแล้ว ,
            ๖. (อ. ผ้าสาฎกเป็นเครื่องนุ่ง) ผืนหนึ่ง แม้ของนางพราหมณี (ได้มีแล้ว), อ. ผ้าเป็นเครื่องห่ม ผืนหนึ่งนั่นเทียว (ของชน ท.) แม้ทั้งสอง (ได้มีแล้ว) ฯ ในกาลเป็นที่ไปในภายนอก อ. พราหมณ์หรือ หรือว่า อ. นางพราหมณี ย่อมห่ม ซึ่งผ้าเป็นเครื่องห่มผืนนั้น ฯ
            ๗. ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง ครั้นเมื่อการฟังซึ่งธรรม ในวิหาร (อันบุคคล) ป่าวร้องแล้ว อ. พราหมณ์ กล่าวแล้วว่า แน่ะนางผู้เจริญ อ. การฟังซึ่งธรรม (อันบุคคล) ป่าวร้องแล้ว อ. เธอ จักไป สู่ที่เป็นที่ฟังซึ่งธรรม ในเวลากลางวัน หรือ หรือว่า (อ. เธอ จักไป สู่ที่เป็นฟังซึ่งธรรม) ในเวลากลางคืน ?
            ๘. เพราะว่า อันเรา ท. ไม่อาจ เพื่ออันไป โดยความเป็นอันเดียวกัน เพราะความไม่มี แห่งผ้าเป็นเครื่องห่ม ดังนี้ ฯ
            ๙. อ. นางพราหมณี (กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่นาย อ. ดิฉัน จักไป ในเวลากลางวัน ดังนี้ ห่มแล้ว ซึ่งผ้าสาฎก ได้ไปแล้ว ฯ
        ๑๐. อ. พราหมณ์ ยังส่วนแห่งวัน ให้น้อมไปล่วงวิเศษแล้ว ในเรือน ไปแล้ว ในเวลากลางคืน นั่งแล้ว ข้างพระพักตร์ ของพระศาสดา ได้ฟังแล้ว ซึ่งธรรม ฯ

๑. อถสฺส สรีรํ ผรมานา ปญฺจวณฺณา ปีติ อุปฺปชฺชิ.
๒. โส สตฺถารํ ปูชิตุกาโม หุตฺวาสเจ อิมํ สาฏกํ ทสฺสามิ เนว พฺราหฺมณิยา มยฺหํ ปารุปนํ ภวิสฺสตีติ จินฺเตสิ.
๓. อถสฺส มจฺเฉรจิตฺตานํ สหสฺสํ อุปฺปชฺชิ ปุเนกํ สทฺธาจิตฺตํ อุปฺปชฺชิ.
๔. ตํ อภิภวิตฺวา ปุน มจฺเฉรสหสฺสํ อุปฺปชฺชิ.
๕. อิติสฺส พลวมจฺเฉรํ พนฺธิตฺวา คณฺหนฺตํ วิย สทฺธาจิตฺตํ ปฏิพาหติเยว.
๖. ตสฺสทสฺสามิ ทสฺสามีติ จินฺเตนฺตสฺเสว ปฐมยาโม อปคโต มชฺฌิมยาโม สมฺปตฺโต.
๗. มชฺฌิมยาเม สมฺปตฺเต ตสฺมิมฺปิ ทาตุ นาสกฺขิ.

          ๑. ครั้งนั้น อ. ปีติ มีวรรณะ ๕ เกิดขึ้นแล้ว แผ่ไปอยู่ ตลอดสรีระ ของพราหมณ์นั้น ฯ
๒. อ. พราหมณ์นั้น เป็นผู้ใคร่เพื่ออันบูชา ซึ่งพระศาสดา เป็น คิดแล้ว ว่า ถ้าว่า อ. เรา จักถวาย ซึ่งผ้าสาฎกผืนนี้ไซร้, (อ. ผ้าเป็นเครื่องห่ม) ของนางพราหมณี (จักมี) หามิได้นั่นเทียว อ. ผ้าเป็นเครื่องห่ม ของเรา จักมี หามิได้ ดังนี้ ฯ
๓. ครั้งนั้น อ. พัน แห่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยความตระหนี่ ท. เกิดขึ้นแล้ว แก่พราหมณ์นั้น, อ. จิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยศรัทธา ดวงหนึ่ง เกิดขึ้นแล้ว อีก,
๔. อ.  พันแห่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยความตระหนี่ เกิดขึ้นแล้ว ครอบงำอยู่ ซึ่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยศรัทธาแม้นั้น อีก ฯ
 ๕. อ. ความตระหนี่มีกำลัง แห่งพราหมณ์นั้น ราวกะว่าผูกถือเอาอยู่ ย่อมห้ามซึ่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยศรัทธานั่นเทียว ด้วยประการฉะนี้ ฯ
๖. เมื่อพราหมณ์นั้น คิดอยู่ว่า อ. เรา จักถวาย อ. เรา จักไม่ถวาย ดังนี้นั่นเทียว อ. ปฐมยาม เป็นไปล่วงวิเศษแล้ว อ.มัชฌิมยาม ถึงพร้อมแล้ว ฯ
๗. ในลำดับนั้น ครั้นเมื่อมัชฌิมยาม ถึงพร้อมแล้ว อ. พราหมณนั้น ไม่ได้อาจแล้ว เพื่ออันถวาย ในมัชฌิมยามนั้น ฯ

 ตอนที่ ๒ 

             ๑. ปจฺฉิมยาเม สมฺปตฺเต โส จินฺเตสิมม สทฺธาจิตฺเตน มจฺเฉรจิตฺเตน สทฺธึ ยุชฺฌนฺตสฺเสว ทฺเว ยามา วีติวตฺตา อิทํ มม เอตฺตกํ มจฺเฉรจิตฺตํ วฑฺฒมานํ จตูหิ อปาเยหิ สีสํ อุกฺขิปิตุ ทสฺสติ ทสฺสามิ นฺติ.
๒. โส มจฺเฉรสหสฺสํ อภิภวิตฺวา สทฺธาจิตฺตํ ปุเรจาริกํ กตฺวา สาฏกํ อาทาย สตฺถุ ปาทมูเล ฐเปตฺวาชิตํ เม ชิตํ เมติ ติกฺขตฺตุ มหาสทฺทมกาสิ.
๓. ราชา ปเสนทิ โกสโล ธมฺมํ สุณนฺโต ตํ สทฺทํ สุตฺวาปุจฺฉถ นํ กึ กิร เตน ชิตนฺติ อาห.
๔. โส ราชปุริเสหิ ปุจฺฉิโต ตมตฺถํ อาโรเจสิ. ตํ สุตฺวา ราชาทุกฺกรํ กตํ พฺราหฺมเณน สงฺคหมสฺส กริสฺสามีติ เอกํ สาฏกยุคํ ทาเปสิ.
๕. โส ตมฺปิ ตถาคตสฺเสว อทาสิ. ปุน ราชา ทฺเว จตฺตาริ อฏฺฐ โสฬสาติ ทฺวิคุณํ กตฺวา ทาเปสิ.

         ๑. ครั้นเมื่อปัจฉิมยาม ถึงพร้อมแล้ว อ. พราหมณ์นั้น คิดแล้ว ว่า เมื่อเรา รบอยู่ กับ ด้วยจิตดวงประกอบด้วยพร้อมแล้วด้วยศรัทธาด้วย ด้วยจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยความตระหนี่ด้วยนั่นเทียว อ. ยาม ท. ๒ เป็นไปล่วงวิเศษแล้ว , อ. จิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยความตระหนี่ มีประมาณเท่านี้ ของเรา นี้ เจริญอยู่ จักไม่ให้ เพื่ออันยกขึ้น ซึ่งศีรษะ จากอบาย ท. ๔ อ. เรา จักถวาย ซึ่งผาสาฎก ดังนี้ ฯ
๒. อ. พราหมณ์นั้น ครองงำแล้ว ซึ่งพันแห่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยความตระหนี่ กระทำแล้ว ซึ่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยศรัทธา ให้เป็นจิตประกอบแล้วด้วยอันเที่ยวไปในก่อน  ถือเอาแล้ว ซึ่งผ้าสาฎก ว่างไว้แล้ว ณ ที่ใกล้แห่งพระบาท ของพระศาสดา ได้กระทำแล้ว ซึ่งเสียงใหญ่ ๓ ครั้ง ว่า อันเรา ชนะแล้ว, อันเรา ชนะแล้ว ดังนี้เป็นต้น
๓. อ. พระราชา พระนามว่าปเสนทิโกศล ทรงสดับอยู่ ซึ่งธรรม ทรงสดับแล้ว ซึ่งเสียง นั้น ตรัสแล้ว ว่า อ. เจ้า ท. จงถาม ซึ่งพราหมณ์นั้น, ได้ยินว่า อ.อะไร อันพราหมณ์นั้น ชนะแล้ว ดังนี้ ฯ
            ๔. อ. พราหมณ์นั้น ผู้ อันราชบุรุษ ท. ถามแล้ว บอกแล้ว ซึ่งเนื้อความ นั้น ฯ อ. พระราชา ทรงสดับแล้ว ซึ่งเนื้อความนั้น (ทรงดำริแล้ว) ว่า อ. กรรมอันบุคคลกระทำได้โดยยาก อันพราหมณ์ กระทำแล้ว, อ. เรา จักกระทำ ซึ่งการสงเคราะห์ แก่พราหมณ์นั้น ดังนี้ (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้พระราชทานแล้ว ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก คู่หนึ่ง ฯ
            ๕. อ. พราหมณ์นั้น ได้ถวายแล้ว ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก แม้นั้น แก่พระตถาคตเจ้านั่นเทียว ฯ อ. พระราชา (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้พระราชทานแล้ว กระทำให้คูณด้วย ๒ คือ (ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก ท.) ๒ (ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก ท.) ๔ (ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก ท.) ๘ (ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก ท.) ๑๖ อีก ฯ
 
 ตอนที่ ๓
๑. โส ตานิปิ ตถาคตสฺเสว อทาสิ. อถสฺส ราชา ทฺวตฺตึส ยุคานิ ทาเปสิ. พฺราหฺมโณอตฺตโน อคฺคเหตฺวา ลทฺธํ ลทฺธํ วิสฺสชฺเชสิเยวาติ วาทโมจนตฺถํ ตโต เอกํ ยุคํ อตฺตโน เอกํ พฺราหฺมณิยาติ ทฺเว ยุคานิ คเหตฺวา ตึส ยุคานิ ตถาคตสฺเสว อทาสิ.
๒. ราชา ปน ตสฺมึ สตฺตกฺขตฺตุมฺปิ ททนฺเต ปุน ทาตุกาโมเยว อโหสิ. ปุพฺเพ มหาเอกสาฏโก จตุสฏฺฐิยา สาฏกยุเคสุ ทฺเว อคฺคเหสิ อยํ ปน ทฺวตฺตึสาย ลทฺธกาเล ทฺเว อคฺคเหสิ.
๓. ราชา ปุริเส อาณาเปสิทุกฺกรํ ภเณ พฺราหฺมเณน กตํ อนฺเตปุเร มม ทฺเว กมฺพลานิ อาหราเปยฺยาถาติ. เต ตถา กรึสุ.
๔. ราชา สตสหสฺสคฺฆนเก ทฺเว กมฺพเล ทาเปสิ.
 ๑. อ. พราหมณ์นั้น ได้ถวายแล้ว ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก ท. แม้เหล่านั้น แก่พระตถาคตเจ้านั่นเทียว ฯ ครั้งนั้น อ. พระราชา (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้พระราชทานแล้ว ซึ่งคู่ ๓๒ ท. แก่พราหมณ์นั้น ฯ อ. พราหมณ์ ถือเอาแล้ว ซึ่งคู่ ท. ๒ คือ ซึ่งคู่ ๆ ๑ เพื่อตน (ซึ่งคู่) คู่ ๑ เพื่อนางพราหมณี จากคู่ ๓๒ นั้น เพื่ออันเปลื้องซึ่งวาทะ ว่า อ. พราหมณ์ ไม่ถือเอาแล้ว เพื่อตน สละวิเศษแล้ว (ซึ่งคู่) อัน ๆ ตน ได้แล้ว ๆ นั่นเทียว ดังนี้ ได้ถวายแล้ว ซึ่งคู่ ท. ๓๐ แก่พระตถาคตเจ้านั่นเทียว ฯ 
๒. ส่วนว่า อ. พระราชา, ครั้นเมื่อพราหมณ์นั้น ถวายอยู่ แม้ ๗ ครั้ง, เป็นผู้ทรงประสงค์เพื่ออันพระราชทาน อีก เทียว ได้เป็นแล้ว ฯ อ. พราหมณ์ชื่อว่ามหาเอกสาฎก ได้ถือเอาแล้ว ในคู่แห่งผ้าสาฎก ท. ๖๔ หนา (ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฏก ท.) ๒ ในกาลก่อน ฯ ส่วนว่า อ. พราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎกนี้ ได้ถือเอาแล้ว (ซึ่งคู่แห่งผ้าสาฎก ท.) ๒ ในกาลแห่งคู่ ๓๒ อันตนได้แล้ว ฯ
๓. อ. พระราชา ทรงยังราชบุรุษ ท. ให้รู้ทั่วแล้ว ว่า แนะพนาย อ. กรรมอันบุคคลกระทำได้โดยยาก อันพราหมณ์ กระทำแล้ว, อ. เจ้า ท. (ยังกันและกัน) พึงให้นำมา ซึ่งผ้ากัมพล ท. ๒ ของเรา ในภายในแห่งวัง ดังนี้ ฯ อ. ราชบุรุษ ท. เหล่านั้น กระทำแล้ว อย่างนั้น ฯ
๔. อ. พระราชา (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้พระราชทานแล้ว ซึ่งผ้ากัมพล ท. ๒ มีค่าแสนหนึ่ง แก่พราหมณ์นั้น ฯ
         
ตอนที่ ๔
 
             ๑. พฺราหฺมโณ อิเม มม สรีเร อุปโยคํ อรหนฺติ พุทฺธสาสนสฺเสว เอเต อนุจฺฉวิกาติ เอกํ กมฺพลํ อนฺโตคนฺธกุฏิยํ สตฺถุ สยนสฺส อุปริ วิตานํ กตฺวา พนฺธิ เอกํ อตฺตโน ฆเร นิพทฺธํ ภุญฺชนฺตสฺส ภิกฺขุโน ภตฺตกิจฺจฏฺฐาเน วิตานํ กตฺวา พนฺธิ.
๒. ราชา สายนฺหสมเย สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา ตํ กมฺพลํ สญฺชานิตฺวาภนฺเต เกน ปูชา กตาติ ปุจฺฉิตฺวาเอกสาฏเกนาติ วุตฺเตพฺราหฺมโณ มม ปสาทฏฺฐาเนเยว ปสีทตีติ วตฺวาจตฺตาโร หตฺถี จตฺตาโร อสฺเส จตฺตาริ กหาปณสหสฺสานิ จตสฺโส อิตฺถิโย จตสฺโส ทาสิโย จตฺตาโร ปุริเส จตุโร คามวเรติ เอวํ ยาว สพฺพสตา จตฺตาริ จตฺตาริ กตฺวา สพฺพจตุกฺกํ นาม อสฺส ทาเปสิ.

๑. อ. พราหมณ์ (คิดแล้ว) ว่า อ. ผ้ากัมพล ท. เหล่านี้ ย่อมควร ซึ่งอันประกอบเข้า ในสรีระ ของเรา หามิได้, อ. ผ้ากัมพล ท. เหล่านั้น เป็นของสมควรแก่พระพุทธศาสนานั่นเทียว (ย่อมเป็น) ดังนี้ ผูกแล้ว ซึ่งผ้ากัมพล ผืนหนึ่ง กระทำให้เป็นเพดาน ในเบื้องบน แห่งที่เป็นที่บรรทม ของพระศาสดา ในภายในแห่งพระคันธกุฎี, ผูกแล้ว ซึ่งผ้ากัมพล ผืนหนึ่ง กระทำ ให้เป็นเพดาน ในที่เป็นที่กระทำซึ่งกิจด้วยภัตร ของภิกษุ รูปฉันอยู่ ในเรือน ของตน เนืองนิตย์ ฯ
๒. อ. พระราชา เสด็จไปแล้ว สู่สำนัก ของพระศาสดา ในสมัยคือเป็นเวลาเย็นแห่งวัน ทรงจำได้แล้ว ซึ่งผ้ากัมพล ทูลถามแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. การบูชา อันใคร กระทำแล้ว ดังนี้, (ครั้นเมื่อพระดำรัส) ว่า (อ. การบูชา) อันพราหมณ์ชื่อว่าเอกสาฎก (กระทำแล้ว) ดังนี้ (อันพระศาสดา) ตรัสแล้ว, (ทรงดำริแล้ว) ว่า อ. พราหมณ์ ย่อมเลื่อมใส ในที่เป็นที่เลื่อมใส ของเรานั่นเทียว ดังนี้ (ทรงยังราชบุรุษ ท.) ให้พระราชทานแล้ว ชื่อซึ่งประมาณ ๔ แห่งวัตถุทั้งปวง กระทำ ให้เป็นวัตถุ ๔ ๆ เพียงใด แต่ร้อยแห่งวัตถุทั้งปวง อย่างนี้ คือ ซึ่งช้าง ท. ๔ ซึ่งม้า ท. ๔ ซึ่งพันแห่งกหาปณะ ท. ๔ ซึ่งหญิง ท. ๔ ซึ่งทาสี ท. ๔ ซึ่งบุรุษ ท. ๔ ซึงบ้านส่วย ท. ๔ แก่พราหมณ์นั้น ฯ

 ตอนที่ ๕ 

๑. ภิกฺขู ธมฺมสภายํ กถํ สมุฏฺฐาเปสุอโห อจฺฉริยํ จูเฬกสาฏกสฺส กมฺมํ ตํมุหุตฺตเมว สพฺพจตุกฺกํ ลภิ อิทานิ กเตน กลฺยาณกมฺเมน อชฺชเมว วิปาโก ทินฺโนติ.
๒. สตฺถา อาคนฺตฺวากาย นุตฺถ ภิกฺขเว เอตรหิ กถาย สนฺนิสินฺนาติ ปุจฺฉิตฺวาอิมาย นามาติ วุตฺเตภิกฺขเว สจายํ เอกสาฏโก ปฐมยาเม มยฺหํ ทาตุ อสกฺขิสฺส สพฺพโสฬสกํ อลภิสฺส.
๓. สเจ มชฺฌิมยาเม อสกฺขิสฺส สพฺพฏฺฐกํ อลภิสฺส พลวปจฺฉิมยาเม ทินฺนตฺตา ปเนส สพฺพจตุกฺกํ ลภิ.
๔. กลฺยาณกมฺมํ กโรนฺเตน หิ อุปฺปนฺนํ จิตฺตํ อหาเปตฺวา ตงฺขณญฺเญว กาตพฺพํ. ทนฺธํ กตํ กุสลญฺหิ สมฺปตฺตึ ททมานํ ทนฺธเมว ททาติ.
 ๑. อ. ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่า โอ ! อ. กรรม ของพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก เป็นกรรมอันน่าอัศจรรย์ (ย่อมเป็น), อ. พราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎกนั้น ได้แล้ว ซึ่งประมาณ ๔ แห่งวัตถุทั้งปวง สิ้นกาลครู่หนึ่งนั่นเทียว อ. วิบาก อันกรรมอันงาม อัน ๆ พราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎกนั้น กระทำแล้ว ในที่เพียงดังนา ในกาลนี้นั่นเทียว ให้แล้ว ในวันนี้นั่นเทียว ดังนี้ ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ในโรงเป็นที่กล่าวกับด้วยการแสดงซึ่งธรรม ฯ
๒. อ. พระศาสดา เสด็จมาแล้ว ตรัสถามแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. เธอ ท. เป็นผู้นั่งพร้อมกันแล้ว ด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว อะไร หนอ ย่อมมี ในกาลนี้ ดังนี้, (ครั้นเมื่อคำ) ว่า (อ. ข้าพระองค์ ท. เป็นผู้นั่งพร้อมกันแล้วด้วยวาจาเป็นเครื่องกล่าว) ชื่อนี้ (ย่อมมี ในกาลนี้) ดังนี้ (อันภิกษุ ท. เหล่านั้น) กราบทูลแล้ว ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ถ้าว่า อ. เอกสาฎก นี้ จักได้อาจแล้ว เพื่ออันถวาย แก่เรา ในปฐมยามไซร้, อ. เอกสาฎกนั้น จักได้แล้ว ซึ่งประมาณ ๑๖ แห่งวัตถุทั้งปวง;
๓. ถ้าว่า อ. เอกสาฎก นี้ จักได้อาจแล้ว เพื่ออันถวาย (แก่เรา) ในมัชฌิมยามไซร้ อ. เอกสาฎกนั้น จักได้ได้แล้ว ซึ่งประมาณ ๘ (แห่งผ้าสาฎก ท.) เป็นผ้า (อันเอกสาฎกนั้น) ถวายแล้ว ในกาลอันขจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง ;
๔. จริงอยู่ อ. กรรมอันงาม (อันบุคคล) ผู้เมื่อกระทำ ยังจิตดวงเกิดขึ้นแล้ว ไม่ให้เสื่อมแล้ว พึงกระทำในขณะนั้นนั่นเทียว, ด้วยว่า อ. กุศล อัน ๆ บุคคลกระทำแล้ว ช้า เมื่อให้ ซึ่งสมบัติ ย่อมให้ช้านั่นเทียว ;  

 ตอนที่ ๖

๑. ตสฺมา จิตฺตุปฺปาทสมนนฺตรเมว กลฺยาณกมฺมํ กาตพฺพนฺติ วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห
                       “อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ         ปาปา จิตฺตํ นิวารเย.
                            ทนฺธญฺหิ กโรโต ปุญฺญํ       ปาปสฺมึ รมตี มโนติฯ

๒. ตตฺถ อภิตฺถเรถาติ ตุริตตุริตํ สีฆสีฆํ กเรยฺยาติ อตฺโถ.
๓. คิหินา วา หิสลากภตฺตทานาทีสุ กิญฺจิเทว กุสลํ กริสฺสามีติ จิตฺเต อุปฺปนฺเน ยถา อญฺเญ โอกาสํ ลภนฺติ เอวํอหํ ปุเร อหํ ปุเรติ ตุริตตุริตเมว กาตพฺพํ.
๔. ปพฺพชิเตน วา อุปชฺฌายวตฺตาทีนิ กโรนฺเตน อญฺญสฺส โอกาสํ อทตฺวาอหํ ปุเร อหํ ปุเรติ ตุริตตุริตเมว กาตพฺพํ.
๕. ปาปา จิตฺตนฺติ กายทุจฺจริตาทิปาปกมฺมโต วา อกุสลจิตฺตุปฺปาทโต วา สพฺพถาเมน จิตฺตํ นิวารเย.

 ๑. เพราะเหตุนั้น อ. กรรมอันงาม (อันบุคคล) พึงกระทำ ในลำดับแห่งความเกิดขึ้นแห่งจิตนั่นเทียว ดังนี้ เมื่อ ทรงสืบต่อ ซึ่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ ว่า
อ. บุคคล พึงขวนขวาย ในกรรมอันงาม, พึงห้าม ซึ่งจิต จากกรรมอันลามก, เพราะว่า (เมื่อบุคคล) กระทำอยู่ ซึ่งบุญ ช้า, อ. ใจ ย่อมยินดี ในบาป ดังนี้ ฯ

            ๒. อ. อรรถ ว่า พึงกระทำ ด่วน ๆ คือว่า พลัน ๆ ดังนี้ (ในบท ท.) เหล่านั้นหนา (แห่งบท) ว่า อภิตฺถเรถ ดังนี้ ฯ
            ๓. จริงอยู่, ครั้นเมื่อจิต ว่า อ. เรา จักกระทำ (ในกุศล ท.) มีการถวายซึ่งสลากภัตรเป็นต้นหนา ซึ่งกุศล อะไร ๆ นั่นเทียว ดังนี้ เกิดขึ้นแล้ว , อ. ชน ท. เหล่าอื่น จะไม่ได้ ซึ่งโอกาส โดยประการใด, (อ. กุศล) อันคฤหัสถ์ พึงกระทำ ด่วน ๆ นั่นเทียว (ด้วยความคิด) ว่า อ. เรา (จักกระทำ) ในก่อน อ. เรา (จักกระทำ) ในก่อน ดังนี้ โดยประการนั้น ฯ
            ๔. อีกอย่างหนึ่ง (อ. กุศล) อันบรรพชิต ผู้เมื่อกระทำ (ซึ่งวัตร ท.) มีวัตรเพื่ออุปัชฌาย์เป็นต้น ไม่ให้แล้ว ซึ่งโอกาส แก่บรรพชิตรูปอื่น พึงกระทำ ด่วน ๆ นั่นเทียว (ด้วยความคิด) ว่า อ. เรา (จักกระทำ) ในก่อน อ. เรา (จักกระทำ) ในก่อน ดังนี้ ฯ
            ๕. (อ. อรรถ) ว่า ก็ อ. บุคคล พึงห้าม ซึ่งจิต จากกรรมอันลามก มีกายทุจริตเป็นต้นหรือ หรือว่า จากความเกิดขึ้นแห่งจิตดวงเป็นอกุศล ในที่ทั้งปวง (ดังนี้ แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า ปาปา จิตฺตํ ดังนี้ ฯ
           
 ตอนที่ ๗ 

๑. ทนฺธญฺหิ กโรโตติ โย ปนทสฺสามิ ทสฺสามิ สมฺปชฺชิสฺสติ นุ โข เม โนติ เอวํ จิกฺขลฺลมคฺเคน คจฺฉนฺโต วิย ทนฺธํ ปุญฺญํ กโรติ ตสฺส เอกสาฏกสฺส วิย มจฺเฉรสหสฺสํ ปาปํ โอกาสํ ลภติ.
๒. อถสฺส ปาปสฺมึ รมตี มโน กุสลกมฺมกรณกาเลเยว หิ จิตฺตํ กุสเล รมติ ตโต มุจฺจิตฺวา ปาปนินฺนเมว โหตีติ.
๓. คาถาปริโยสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสูติ.
๔. จูเฬกสาฏกพฺราหฺมณวตฺถุ
            ๕. (นิฏฺฐิตํ)

            ๑. (อ. อรรถ) ว่า ก็ อ. บุคคล ใด (คิดอยู่) อย่างนี้ ว่า อ. เรา จักถวาย, อ. เรา จักระทำ, (อ. ผล) จักสำเร็จ แก่เราหรือหนอแล (หรือว่า) (อ. ผล จักสำเร็จ แก่เรา) หามิได้ ดังนี้ ชื่อว่าย่อมกระทำ ซึ่งบุญ ช้า ราวกะ (อ. บุคคล) ผู้ไปอยู่ โดยหนทางอันลื่น, อ. บาป ของบุคคลนั้น ย่อมได้ ซึ่งโอกาส ราวกะ อ. พันแห่งจิตดวงประกอบพร้อมแล้วด้วยความตระหนี่ ของพราหมณ์ชื่อว่าเอกสาฎก (ได้อยู่ ซึ่งโอกาส) ฯ
            ๒. ครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น (มีอยู่) อ. ใจ ของบุคคลนั้น ย่อมยินดี ในบาป ฯ เพราะว่า อ. จิต ย่อมยินดี ในกรรมอันเป็นกุศล ในกาลเป็นที่กระทำซึ่งกรรมอันเป็นกุศลนั่นเทียว (อ. จิต) พ้นแล้ว จากกาลเป็นที่กระทำซึ่งกรรมอันเป็นกุศลนั้น เป็นธรรมชาตน้อมไปแล้วในบาปนั่นเทียว ย่อมเป็น ดังนี้ (แห่งหมวดสองแห่งบท) ว่า ทนฺธํ หิ กรโต ดังนี้ ฯ
            ๓. ในการเป็นที่สุดลงรอบแห่งพระคาถา (อ. ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว (ซึ่งอริยผล ท.) มีโสดาปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แล ฯ
             ๔. อ. เรื่องแห่งพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก
             ๕. (จบแล้ว) ฯ